โรคแมลงศัตรูในมะนาว

nano zinc oxide : นาโนซิงค์ออกไซต์

เทคนิคการให้ปุ๋ยมะนาว

gibberellic acid : ผลิตฮอร์โมนจิ๊บเบอเรลริคแอซิดจากหัวปลี

การขยายพันธุ์มะนาว

วิธีขยายพันธุ์มะนาวด้วยใบ

มะนาว เป็นพืชเศรษฐกิจอีกอย่างที่น่าสนใจ เพราะปัอ่านต่อ

การขยายพันธุ์มะนาวด้วยการปักชำ

ทุกวันนี้ มะนาวมีราคาแพง และเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในกาอ่านต่อ

การเสียบยอดมะนาว

การขยายพันธุ์ด้วยการเสียบยอด เป็นการนำเอากิ่งพันธุ์ดี อ่านต่อ

ข่าวสาร

การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

hydroponic nutrient solution tomato : สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์มะเขือเทศ

สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์มะเขือเทศเพื่อการค้า ปลูกในระบบวัสดุป...

hydroponic nutrient solution melon : สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์เมล่อน

สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์เมล่อนเพื่อการค้า ปลูกในระบบวัสดุปล...

Hydroponic Granpa Farm Rikuzentakata : ไฮโดรโพนิคส์โดม

ฟาร์มไฮโดรโพนิคส์เป็นโดมขนาดใหญ่ มองเห็นแต่ไกลแห่งนี้ ...

ชนิดของผักที่ปลูก(Hydroponics ตอนที่7)

ชนิดของผักที่ปลูก(Hydroponics ตอนที่7) การเลือกชนิดข...

ระบบปลูกผักไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 6)

ระบบปลูกผักไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่6) http://th...

การเพาะกล้าผักระบบไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 5)

การเพาะกล้าผักระบบไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 5) h...

การผสมสูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่4)

การผสมสูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 4) สวั...

Nitrogen : ไนโตรเจน (N)



ไนโตรเจน (N) เป็นธาตุสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเจริญเติบโตของพืช เพราะไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบของกรดอมิโน โปรตีน นิวคลีโอไทด์ และคลอโรฟิลล์ ซึ่งสารเหล่านี้เป็นสารประกอบที่สำคัญมากต่อขบวนการเมตาโบลิซึมของพืช พืชที่ได้รับไนโตรเจนเพียงพอจะเจริญเติบโตดี มีใบสีเขียวเข้มในพืชผัก ไนโตรเจนมีส่วนสำคัญในการเพิ่มคุณภาพเพราะเป็นตัวทำให้ผักมีลักษณะอวบน้ำ พืชผักรับประทานต้นหรือใบจึงต้องการไนโตรเจนสูง เพื่อให้ต้นและใบมีความกรอบ มีกากหรือเส้นใยน้อย ซึ่งเป็นลักษณะที่ผู้บริโภคต้องการไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ต่อพืชจะอยู่ในรูปแอมโมเนียมอิออน (NH4+) และไนเตรท อิออน (NO3-) แต่ไนโตรเจนส่วนใหญ่ในสารละลายจะอยู่ในรูปไนเตรทอิออน เพราะแอมโมเนียม อิออนในปริมาณมากจะเป็นอันตรายต่อพืชได้ สำหรับยูเรียแม้จะมีอยู่ในธรรมชาติแต่พืชดูดไปกินได้น้อย ในการปลูกพืชแบบไฮโดรโพนิกส์ควรมีสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างแอมโมเนียม อิออนและไนเตรทอิออน ปริมาณแอมโมเนียมอิออนไม่ควรเกินร้อยละ 50 ของความเข้มข้นของไนโตรเจนทั้งหมดในสารละลาย แต่สัดส่วนที่เหมาะสมมักใช้ไนเตรทอิออนร้อยละ 75 และแอมโมเนียมอิออนร้อยละ 25 สารเคมีที่ให้ไนเตรทอิออน คือ แคลเซียมไนเตรท และโพแทสเซียมไนเตรท พืชที่ขาดไนโตรเจนจะมีลำต้นเล็กแคระแกร็น ใบอ่อนเล็กเรียว ใบแก่มีสีเหลืองซีด ถ้าขาดเป็นเวลานานใบทั้งหมดจะมีลักษณะสีเหลืองซีดและแห้งตายในที่สุด แต่ถ้าพืชได้รับในปริมาณมากเกินไปพืชจะอ่อนแอ บอบบาง หักโค่นได้ง่าย ในพืชผักถ้าพืชได้รับไนโตรเจนช้าหรือเร็วไป พืชหัวคุณภาพของรากและหัวเลวลง เช่น ในหอมหัวใหญ่ จะมีหัวที่ใหญ่ขึ้นแต่มีน้ำหนักเบา หัวไม่แบนและเน่าง่าย

บทความที่ได้รับความนิยม

รวบรวมองค์ความรู้ด้านเกษตร การเกษตรสมัยใหม่ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมและภูมิปัญญาในการพัฒนาสินค้าเกษตร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างคุณภาพ และมาตรฐานของสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค

ขับเคลื่อนโดย Blogger.