nano zinc oxide : นาโนซิงค์ออกไซต์



อนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ รักษาโรคแคงเกอร์ในสวนมะนาว
• โรงแคงเกอร์ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv.citri (Hasse) Dye.
• ผสม ZnO ~15g กับ น้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 10-15 วัน
• สามารถยับยั้งการเกิดเชื้อรากับต้นและผลมะนาวได้ดี
• ศูนย์วิจัยนาโนเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี

แผ่นยางพาราที่มีการผสมอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์
• สามารถยับยั้งการเกิดเชื้อรากับแผ่นยางพารา ทำให้เก็บรักษาได้นานมากกว่า 3 เดือน
• สีเหลืองทอง สม่ำเสมอ เนื้อยางใส ลายดอกชัดเจน
• สามารถรับแรงกระทำสูงสุด 8.23 N และระยะยืด 435.1 mm. ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
• หมู่บ้านยางพารานาโนพระจอมเกล้าลาดกระบัง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี

ผักหวานที่ได้จากการเตรียมดินที่มีส่วนผสมของอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์
• ผสม ZnO ~0.5g กับกรดมะนาวเล็กน้อย จากนั้นผสมในน้ำ 1 ลิตร เพื่อใช้ในการเตรียมดิน
• สามารถเพิ่มผลผลิตผักหวานได้มากกว่า 2000 ต้น
• หมู่บ้านผักหวานนาโนพระจอมเกล้าลาดกระบัง อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร

ข้าวที่ผ่านการเตรียมด้วยส่วนผสมของอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์
• นำเมล็ดพันธุ์ข้าวแช่ในสารผสม ZnO เป็นเวลา 24 ชม. และหลังการปลูกฉีดพ่นอีกทุก 14 วัน
• ZnO สามารถยับยั้งแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (ex Ishiyama) Swings et al. ซึ่ง
เป้นสาเหตุของโรคขอบใบแห้งได้ดี
• สามารถได้ผลผลิตต่อไร่ของข้าวมากขึ้น
• หมู่บ้านข้าวนาโนเทคโนโลยีนาบ่อคำ พระจอมเกล้าลาดกระบัง อ.เมือง จ.กำแพงเพชร

มันสำปะหลังที่ผ่านการเตรียมด้วยส่วนผสมของอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์
• ผสม ZnO ~15g กับน้ำ 50 ลิตร เพื่อใช้ในการแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนทำการปลูก 12 ชม.
• สามารถได้ผลผลิตต่อไร่ของมันสำปะหลังมากขึ้น
• หมู่บ้านนาโนเทคโนโลยีมันสำประหลังนาบ่อคำ พระจอมเกล้าลาดกระบัง อ.เมือง จ.กำแพงเพชร

www.nano.kmitl.ac.th/files/nano.../03-วัสดุนาโนซิงค์ออกไซด์.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

Leave a Reply