โรคแมลงศัตรูในมะนาว

nano zinc oxide : นาโนซิงค์ออกไซต์

เทคนิคการให้ปุ๋ยมะนาว

gibberellic acid : ผลิตฮอร์โมนจิ๊บเบอเรลริคแอซิดจากหัวปลี

การขยายพันธุ์มะนาว

วิธีขยายพันธุ์มะนาวด้วยใบ

มะนาว เป็นพืชเศรษฐกิจอีกอย่างที่น่าสนใจ เพราะปัอ่านต่อ

การขยายพันธุ์มะนาวด้วยการปักชำ

ทุกวันนี้ มะนาวมีราคาแพง และเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในกาอ่านต่อ

การเสียบยอดมะนาว

การขยายพันธุ์ด้วยการเสียบยอด เป็นการนำเอากิ่งพันธุ์ดี อ่านต่อ

ข่าวสาร

การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

hydroponic nutrient solution tomato : สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์มะเขือเทศ

สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์มะเขือเทศเพื่อการค้า ปลูกในระบบวัสดุป...

hydroponic nutrient solution melon : สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์เมล่อน

สูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์เมล่อนเพื่อการค้า ปลูกในระบบวัสดุปล...

Hydroponic Granpa Farm Rikuzentakata : ไฮโดรโพนิคส์โดม

ฟาร์มไฮโดรโพนิคส์เป็นโดมขนาดใหญ่ มองเห็นแต่ไกลแห่งนี้ ...

ชนิดของผักที่ปลูก(Hydroponics ตอนที่7)

ชนิดของผักที่ปลูก(Hydroponics ตอนที่7) การเลือกชนิดข...

ระบบปลูกผักไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 6)

ระบบปลูกผักไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่6) http://th...

การเพาะกล้าผักระบบไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 5)

การเพาะกล้าผักระบบไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 5) h...

การผสมสูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่4)

การผสมสูตรปุ๋ยไฮโดรโพนิคส์(Hydroponics ตอนที่ 4) สวั...

เทคนิคการเพิ่มน้ำหนักให้กับผักที่ปลูกในน้ำ(Hydroponics ตอนที่ 1)

เทคนิคการเพิ่มน้ำหนักให้กับผักที่ปลูกในน้ำ(Hydroponics ตอนที่ 1) 

http://www.hydroponiccentral.com.au/files/hydroponic1.jpg


เทคนิคการเพิ่มน้ำหนักให้กับผักที่ปลูกในน้ำ บ้างคนอาจคิดว่าเป็นเรื่องยุ่งยากแน่นอน อาจต้องมีการปรับสูตรธาตุอาหาร จะต้องมีการเพิ่มธาตุอาหารบางตัวเข้าไปอย่างแน่นอน แต่ปล่าวเลยครับ วันนี้ผมจะมาสอนวิธีง่ายๆ ที่จะช่วยให้น้ำหนักของผลผลิตเพิ่มขึ้นก่อนการเก็บเกี่ยว ก่อนอื่นผมต้องขออธิบายคร่าวๆ ก่อนเลยนะครับว่า ปัจจัยที่จะทำให้น้ำหนักของผลผลิตที่เราปลุกไว้นั้นเพิ่มได้จะต้องเกี่่ยวกับปัจจัยหลายๆอย่าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นปริมาณธาตุอาหารที่ผักนำไปใช้ อุณหภูมิ แสง วันนี้ผมจะพูดถึงแสงนะครับ ว่าแสงมีผลต่อการเพิ่มน้ำหนักของผลิตเราอย่างไร ถ้าจะเปรียบเทียบร่างกายของคนเราเป็นผักที่เราปลูกสักหนึ่งต้น อาหารที่คนเรากินเข้าไปนั้นก็เปรียบเหมือนธาตุอาหารที่ผักดูดเข้าไปใช้ แสงก็เปรียบเหมือนน้ำที่พวกเราดื่มเข้าไปทุกวัน เมื่อเรากินอาหารเข้าไปแล้วรา่งกายปราศจากน้ำ รา่งกายก็ไม่สามารถดูดซึมเอาสารอาหารที่เรากินเข้าไปใช้ได้ เพราะฉนั้นแสงจึงมีความสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช เพื่อเปลี่ยนให้พืชสามารถนำสารอาหารต่างๆไปใช้ได้นั้นเองช่วงการเจริญเติมโตของพืชก็เหมือนกับร่างกายของคนเรานั้นเอง เมื่อตอนเรายังเด็กๆต้องการอาหารในปริมาณที่น้อย เมื่อเติบโตขึ้นมาก็ต้องการอาหารในปริมาณที่มากขึ้น ต้นไม้ก็เหมือนกันนะครับช่วงแรกๆต้องการสารอาหารในปริมาณที่น้อย พอโตขึ้นมาหน่อยก็ต้องการธาตุอาหารเยอะมากขึ้น และแน่นอนครับว่าต้องการแสงในปริมาณที่มากขึ้นด้วย เพราะฉนั้นหากปริมาณแสงไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ก็จะส่งผลถึงน้ำหนักของพืชโดยตรงครับ วิธีการนำไปปฎิบัติก็คือในช่วงแรกๆที่ผักยังอายุน้อยให้ใช้ตาข่ายพรางแสง 50-70 % พรางแสงไว้นะครับหรือถ้าใครมีเครื่องวัดปริมาณช่วงแสง ก็ประมาณ 12000 ลักซ์ เมื่อผักที่เราปลูกอายุได้สักประมาณ 15 วัน ให้นำตาข่ายพรางแสงออก เพื่อให้ผักได้รับแสงอย่างเพียงพอ ประมาณ 15000-17000 ลักซ์ จะช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับผักและช่วยเพิ่มน้ำหนักก่อนการเก็บเกี่ยวสู่ท้องตลาดได้ครับ ครั้งหน้าผมจะมากล่าวถึงการจัดการธาตุอาหารของผักในแต่ช่วงการเจริญเติมโตกันนะครับ


http://cfgrower.com/wp-content/uploads/2014/01/GM-MR-2-Hydroponics-2.jpg


บทความที่ได้รับความนิยม

รวบรวมองค์ความรู้ด้านเกษตร การเกษตรสมัยใหม่ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมและภูมิปัญญาในการพัฒนาสินค้าเกษตร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างคุณภาพ และมาตรฐานของสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค

ขับเคลื่อนโดย Blogger.